ตัวบทนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแปลภาษา/การศึกษา และไม่ถือว่ามีผลทางกฎหมาย ทั้งนี้ ให้ยึดถือบทบัญญัติต้นฉบับภาษาไทยเท่านั้น ซึ่งได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการและมีผลทางกฎหมาย ตามไฟล์ PDF ที่แนบ
DISCLAIMER: This text has been provided for translation/educational purposes and contains no legal authority. The original text in Thai language shall be accounted as formally adopted and published in attached PDF file; hence, the sole authority with legal force.
พระราชบัญญัติ
เริ่มใช้บังคับ : 17 มิ.ย. 2566

พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๖๖

Navigation in Thai Waters Act (No. 18) B.E. 2566


พระราชบัญญัติ การเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๖๖ 

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕ ๖ ๖ เป็นปีที่ ๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า 

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระราชบัญญัตินี มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท้าได้โดยอาศัยอ้านาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจ้าเป็นในการจ้ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี เพื่อจัดให้มีการควบคุมเรื่องการทิ งขยะในทะเลให้เป็นไปอย่างมีระเบียบและเหมาะสม โดยมุ่งเน้นที่การลด และป้องกันมลพิษ รวมทั งคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเลมิให้ถูกกระทบกระเทือนหรือได้รับความเสียหาย ตลอดจนวางมาตรการในการรองรับการด้าเนินการให้ครบถ้วนสมบูรณ์และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ นไว้โดยค้าแนะน้าและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี 

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี เรียกว่า “พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๖๖ ” 

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นก้าหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 

มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี เป็น (ฆ/๓) ว่าด้วยการทิ งขยะในทะเล ในหมวดที่ ๖ ข้อบังคับเบ็ดเตล็ด ของภาค ๑ ข้อบังคับทั่วไป แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ “(ฆ/๓) ว่าด้วยการทิ งขยะในทะเล มาตรา ๑๒๐/๒ ในส่วนนี “ทิ ง” หมายความว่า การท้าให้ขยะลงไปในทะเลไม่ว่าจะเป็นการเท ปล่อย หรือระบาย และให้หมายความรวมถึงการรั่วไหล หรือการกระท้าด้วยประการอื่นใดให้ขยะลงไปในทะเล “ขยะ” หมายความว่า สิ่งของหรือของเสียที่เกิดขึ นจากเรือหรือแท่น จากการพักอาศัยบนเรือ หรือแท่น หรือจากการให้บริการหรือใช้บริการบนเรือหรือแท่น หรือที่เกิดขึ นในระหว่างการปฏิบัติงาน ตามปกติบนเรือหรือแท่น ดังต่อไปนี (๑) อาหาร (๒) พลาสติก (๓) เศษสินค้า (๔) วัสดุที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้า (๕) สารล้างสินค้า หรือสารล้างระวางเรือ (๖) เถ้าจากเตาเผา (๗) น ้ามันส้าหรับประกอบอาหาร (๘) เครื่องมือท้าการประมง (๙) ซากสัตว์ (๑๐) สิ่งของหรือของเสียอื่นตามที่ก้าหนดในกฎกระทรวงโดยค้านึงถึงอนุสัญญา อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจออกประกาศก้าหนดลักษณะและรายละเอียดของขยะตามวรรคหนึ่งได้ “เรือไทย” หมายความว่า เรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย แต่ไม่หมายความรวมถึง แท่นที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย “แท่น” หมายความว่า สิ่งก่อสร้างในทะเลทั งที่ติดตรึงอยู่กับที่หรือที่ลอยน ้าได้ และ ให้หมายความรวมถึงแท่นที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย “พื นที่พิเศษ” หมายความว่า พื นที่ทางทะเลด้วยเหตุผลทางเทคนิคซึ่งเป็นที่ยอมรับ ทางสมุทรศาสตร์ สภาพทางนิเวศวิทยา และลักษณะเฉพาะของการจราจร ในพื นที่ที่จ้าเป็นต้องจัดให้มี วิธีการพิเศษเพื่อป้องกันมลพิษทางทะเลจากขยะ ได้แก่ พื นที่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน พื นที่ทะเลบอลติก พื นที่ทะเลด้า พื นที่ทะเลแดง พื นที่อ่าวเปอร์เซีย พื นที่ทะเลเหนือ พื นที่แอนตาร์กติก ภูมิภาคไวเดอร์ แคริบเบียน ซึ่งรัฐมนตรีประกาศก้าหนดรายละเอียดและพิกัดของพื นที่โดยค้านึงถึงอนุสัญญา รวมทั ง พื นที่ทางทะเลอื่นที่รัฐมนตรีอาจประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา “อนุสัญญา” หมายความว่า อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ. ๑๙๗๓ และพิธีสาร ค.ศ. ๑๙๗๘ รวมตลอดถึงภาคผนวก “รัฐภาคี” หมายความว่า รัฐภาคีของอนุสัญญา 

มาตรา ๑๒๐/๓ บทบัญญัติในส่วนนี ค้าว่า “ทะเล” ให้หมายความถึง ทะเลในน่านน ้าไทย และเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย แต่ไม่รวมถึง ทะเลสาบสงขลา 

มาตรา ๑๒๐/๔ บทบัญญัติในส่วนนี มิให้ใช้บังคับแก่เรือของทางราชการหรือเรือที่ใช้ ในกิจการของรัฐซึ่งมิได้มีวัตถุประสงค์ในเชิงพาณิชย์ 

มาตรา ๑๒๐/๕ การกระท้าความผิดในส่วนนี จากเรือไทยหรือแท่นที่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองเป็นผู้มีสัญชาติไทย ที่เกิดขึ นนอกราชอาณาจักรไทย ให้ถือว่าเป็นการกระท้าใน ราชอาณาจักรไทย  

มาตรา ๑๒๐/๖ การกระท้าความผิดในส่วนนี จากเรือต่างประเทศหรือแท่นที่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองมิได้เป็นผู้มีสัญชาติไทย ที่เกิดขึ นในเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ ของราชอาณาจักรไทย ให้ถือว่าเป็นการกระท้าในราชอาณาจักรไทย ให้เจ้าท่าแจ้งไปยังประเทศที่เรือนั นจดทะเบียน ประเทศที่เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือ หรือเจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นนั นมีสัญชาติ ประเทศซึ่งเป็นรัฐเมืองท่าถัดไปและแจ้งไปยัง องค์การทางทะเลระหว่างประเทศให้ทราบถึงการกระท้าความผิดตามวรรคหนึ่ง รวมทั งมาตรการและ การด้าเนินคดีของรัฐบาลไทยด้วย 

มาตรา ๑๒๐/๗ ห้ามมิให้ผู้ใดทิ งขยะจากเรือหรือแท่นลงไปในทะเล เว้นแต่เป็นการทิ งขยะ ตามประเภทของขยะและทิ งลงในพื นที่ในทะเล ดังต่อไปนี (๑) การทิ งอาหารจากเรือในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิ งในระยะไม่น้อยกว่าสามไมล์ทะเล นับจากเส้นฐานออกไปในทะเล และการทิ งต้องผ่านเครื่องบดปั่นและผ่านตะแกรงที่มีช่องผ่านขนาด ไม่เกินยี่สิบห้ามิลลิเมตร แต่หากไม่ได้ทิ งผ่านเครื่องบดปั่นหรือผ่านตะแกรงดังกล่าว ให้ทิ งตั งแต่ สิบสองไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานออกไปในทะเล (๒) การทิ งอาหารจากแท่น รวมถึงเรือที่อยู่ติดกับแท่นหรืออยู่ใกล้แท่นในระยะไม่เกินห้าร้อยเมตร นับจากแท่น ให้ทิ งในระยะไม่น้อยกว่าสิบสองไมล์ทะเลนับจากเส้นฐานออกไปในทะเล และการทิ ง ต้องผ่านเครื่องบดปั่นและผ่านตะแกรงที่มีช่องผ่านขนาดไม่เกินยี่สิบห้ามิลลิเมตร (๓) การทิ งเศษสินค้าที่ไม่สามารถน้ากลับมาใช้ได้อีกหรือวัสดุที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าที่ไม่มีสาร ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมจากเรือในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิ งตั งแต่สิบสองไมล์ทะเลนับจาก เส้นฐานออกไปในทะเล (๔) การทิ งสารล้างสินค้าหรือสารล้างระวางเรือที่ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมจากเรือ ในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง (๕) การทิ งซากสัตว์ในระหว่างเดินเรือตามเส้นทาง ให้ทิ งห่างจากเส้นฐานออกไปในทะเล ให้มากที่สุดตามที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงแนวทางขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (๖) การทิ งขยะอื่นนอกจาก (๑) ถึง (๕) หรือการทิ งขยะที่มีการผสมหรือปนเปื้อนสารอื่นใด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา  รัฐมนตรีอาจประกาศก้าหนดสารซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรานี โดยค้านึงถึง แนวทางขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ 

มาตรา ๑๒๐/๘ ห้ามมิให้ผู้ใดทิ งขยะจากเรือไทยหรือแท่นลงไปในพื นที่พิเศษ เว้นแต่ เป็นการทิ งขยะตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศก้าหนดโดยค้านึงถึงอนุสัญญา 

มาตรา ๑๒๐/๙ ผู้ใดทิ งขยะจากเรือหรือแท่นลงไปในทะเลในกรณีดังต่อไปนี ผู้นั นไม่มี ความผิด (๑) เป็นการทิ งในปริมาณเท่าที่จ้าเป็นเพื่อรักษาไว้ซึ่งความปลอดภัยของเรือหรือผู้ที่อยู่บนเรือ ความปลอดภัยของแท่นหรือผู้ที่อยู่บนแท่น หรือเพื่อช่วยเหลือชีวิตมนุษย์ (๒) เป็นการสละทิ งเครื่องมือท้าการประมงเท่าที่จ้าเป็นเพื่อมิให้สิ่งแวดล้อมทางทะเลถูกท้าลาย หรือเพื่อความปลอดภัยของเรือหรือผู้ที่อยู่บนเรือนั น (๓) เป็นการทิ งเศษอาหารที่ปรากฏชัดแจ้งว่า หากเก็บไว้บนเรือในขณะเดินเรือหรือเก็บไว้ บนแท่นจะก่อให้เกิดผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพของผู้ที่อยู่บนเรือหรือผู้ที่อยู่บนแท่น (๔) การรั่วไหลของขยะโดยอุบัติเหตุ เนื่องจากความเสียหายของเรือหรืออุปกรณ์บนเรือ ความเสียหายของแท่นหรืออุปกรณ์บนแท่น ซึ่งผู้ที่อยู่บนเรือหรือผู้ที่อยู่บนแท่นได้ใช้ความระมัดระวัง ตามสมควรทั งก่อนและหลังจากเกิดความเสียหายเพื่อป้องกันหรือลดการรั่วไหลให้น้อยที่สุดแล้ว (๕) เครื่องมือท้าการประมงหลุดหายไปโดยอุบัติเหตุ โดยผู้ควบคุมเรือได้ใช้ความระมัดระวัง อย่างเพียงพอแล้ว 

มาตรา ๑๒๐/๑๐ การสละทิ งเครื่องมือท้าการประมงหรือเครื่องมือท้าการประมงหลุดหายไป ตามมาตรา ๑๒๐/๙ (๒) และ (๕) อันอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเลหรือ การเดินเรืออย่างมีนัยส้าคัญ ให้นายเรือรายงานไปยังรัฐที่เรือนั นจดทะเบียน และรัฐชายฝั่งในกรณีที่ การสละทิ งหรือการหลุดหายดังกล่าวเกิดขึ นในทะเลที่เป็นเขตอ้านาจของรัฐชายฝั่งนั น 

มาตรา ๑๒๐/๑๑ ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น และผู้ครอบครองแท่น ด้าเนินการให้เรือหรือแท่นต้องมีอุปกรณ์ เครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ และมีที่กักเก็บขยะ ให้เพียงพอที่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ และอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดี 

มาตรา ๑๒๐/๑๒ เพื่อประโยชน์ในการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น และผู้จัดการแท่น มีหน้าที่ดังต่อไปนี (๑) เรือที่มีความยาวตลอดล้าตั งแต่สิบสองเมตรขึ นไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศเพื่ออธิบายถึง ข้อก้าหนดเกี่ยวกับการทิ งขยะ (๒) เรือที่มีขนาดตั งแต่หนึ่งร้อยตันกรอสขึ นไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศตาม (๑) และ แผนจัดการขยะเพื่ออธิบายถึงกระบวนการลดปริมาณขยะ การรวบรวม การจัดเก็บ การจัดการ และการทิ งขยะ การใช้อุปกรณ์และเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะบนเรือ การก้าหนดผู้รับผิดชอบ ในการปฏิบัติตามแผนและรายละเอียดอื่น ๆ โดยค้านึงถึงแนวทางปฏิบัติของอนุสัญญา (๓) เรือที่มีขนาดตั งแต่สี่ร้อยตันกรอสขึ นไป หรือเรือที่บรรทุกคนได้ตั งแต่สิบห้าคนขึ นไป ต้องจัดให้มีป้ายประกาศตาม (๑) แผนจัดการขยะตาม (๒) และบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือ หรือเอกสารอื่น เว้นแต่เรือที่บรรทุกคนได้ตั งแต่สิบห้าคนขึ นไปดังกล่าวใช้ระยะเวลาเดินทางไม่เกิน หนึ่งชั่วโมงที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศยกเว้นการจัดท้าบันทึกการจัดการขยะ (๔) แท่นต้องจัดให้มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ และบันทึกการจัดการขยะ เว้นแต่อธิบดี กรมเจ้าท่าเห็นเป็นการสมควร อาจยกเว้นการจัดท้าบันทึกการจัดการขยะก็ได้ การจัดท้าป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ และบันทึกการจัดการขยะตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ภาษา ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของคนประจ้าเรือหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นและภาษาอังกฤษ และให้เป็นไป ตามวิธีการและแบบที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด 

มาตรา ๑๒๐/๑๓ ให้เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือด้าเนินการจัดให้นายเรือ ลูกเรือ และคนประจ้าเรือ มีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ให้เจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นด้าเนินการจัดให้ผู้จัดการแท่นและผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่น มีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ การประเมินที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด 

มาตรา ๑๒๐/๑๔ ให้นายเรือควบคุมลูกเรือหรือคนประจ้าเรือน้าขยะจากเรือ หรือ ผู้จัดการแท่นควบคุมผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นน้าขยะจากแท่น ไปทิ งที่เรือรับขยะหรือสิ่งรองรับขยะบนท่าเรือ ทั งนี ลักษณะของเรือรับขยะหรือสิ่งรองรับขยะบนท่าเรือ และวิธีการทิ ง ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่า ประกาศก้าหนด 

มาตรา ๑๒๐/๑๕ ให้นายเรือควบคุมผู้ที่อยู่บนเรือ หรือผู้จัดการแท่นควบคุมผู้ที่อยู่บนแท่น ให้ทิ งขยะลงในภาชนะหรือสถานที่ที่จัดไว้บนเรือหรือแท่น แล้วแต่กรณี 

มาตรา ๑๒๐/๑๖ ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า เรือหรือแท่นใดในทะเลในน่านน ้าไทย มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในส่วนนี เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้นายเรือ ผู้ควบคุมเรือ ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ชะลอ หยุด หรือจอดเรือหรือแท่นเป็นการชั่วคราว และขึ นไปตรวจสอบเรือหรือแท่นได้ทั งในเวลากลางวันและเวลากลางคืน ตลอดจนสั่งให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น แสดงเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง 

มาตรา ๑๒๐/๑๗ ในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่า เรือหรือแท่นใดที่อยู่ในเขตเศรษฐกิจ จ้าเพาะตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามบทบัญญัติในส่วนนี เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น แสดงเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องก่อนที่จะขึ นไป ตรวจสอบเรือหรือแท่นได้ หากเจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ นายเรือ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่แสดงเอกสารหรือหลักฐาน แสดงเอกสารหรือหลักฐานอันเป็นเท็จ หรือพบว่าการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามในเรื่องดังกล่าวก่อให้เกิดความเสียหายหรือเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดมลพิษอย่างมีนัยส้าคัญอันมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล เจ้าท่าอาจสั่งด้วยวาจาหรือมีหนังสือให้นายเรือ ผู้ควบคุมเรือ ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ชะลอ หยุด หรือจอดเรือหรือแท่นเป็นการชั่วคราว และขึ นไปตรวจสอบเรือ หรือแท่นดังกล่าวทั งในเวลากลางวันและเวลากลางคืนได้ 

มาตรา ๑๒๐/๑๘ ในกรณีที่เรือต่างประเทศที่อยู่ภายในทะเลในน่านน ้าไทย ซึ่งได้กระท้าการ ในลักษณะที่เป็นความผิดตามมาตรา ๑๒๐/๗ หรือมาตรา ๑๒๐/๘ ในน่านน ้าภายในทะเลอาณาเขต หรือเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของรัฐภาคีอื่น ซึ่งไม่ใช่ความผิดต่อเนื่องที่อยู่ในเขตอ้านาจของศาลไทย และรัฐภาคีซึ่งเรือนั นจดทะเบียนหรือรัฐภาคีอื่นซึ่งได้รับความเสียหายหรือได้รับผลกระทบจากการทิ งขยะของเรือนั นร้องขอให้รัฐบาลไทยตรวจสอบเรือต่างประเทศดังกล่าว ให้เจ้าท่าด้าเนินการตรวจสอบ การกระท้าความผิดและด้าเนินคดีกับเรือต่างประเทศนั น ทั งนี ให้น้าความในมาตรา ๑๒๐/๖ วรรคสอง และมาตรา ๑๒๐/๑๖ มาใช้บังคับ 

มาตรา ๑๒๐/๑๙ การด้าเนินคดีแทนรัฐภาคีที่ร้องขอตามมาตรา ๑๒๐/๑๘ ต้องอยู่ภายใต้ หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี (๑) การด้าเนินคดีนั นต้องไม่ขัดต่อประโยชน์สาธารณะ (๒) การกระท้าซึ่งเป็นมูลกรณีของการด้าเนินคดีนั นเข้าลักษณะความผิดตามบทบัญญัติในส่วนนี (๓) รัฐภาคีที่ร้องขอตกลงหรือยินยอมที่จะให้ความช่วยเหลือในท้านองเดียวกันเป็นการตอบแทน หากได้รับค้าร้องขอจากรัฐบาลไทย ในกรณีที่รัฐภาคีที่ร้องขอแจ้งว่าจะด้าเนินคดีกับเรือต่างประเทศดังกล่าวเอง ให้เจ้าท่า ส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการตรวจสอบ ตลอดจนส่งหลักประกันที่เจ้าของเรือต่างประเทศหรือ ผู้ครอบครองเรือต่างประเทศดังกล่าววางไว้แก่เจ้าท่าไปยังรัฐภาคีที่ร้องขอ และให้เจ้าท่าระงับ การด้าเนินคดีนับแต่วันที่ได้ส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้อง บันทึกผลการตรวจสอบ และหลักประกันนั น เพื่อประโยชน์ในการด้าเนินการตามมาตรานี รัฐบาลไทยอาจเรียกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ นใน การด้าเนินการจากรัฐภาคีที่ร้องขอได้ 

มาตรา ๑๒๐/๒๐ ในกรณีที่เจ้าท่าขึ นไปตรวจสอบบนเรือใดตามมาตรา ๑๒๐/๑๖ หรือ มาตรา ๑๒๐/๑๗ หากพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๗ มาตรา ๑๒๐/๘ หรือ มาตรา ๑๒๐/๑๔ ให้เจ้าท่ามีค้าสั่งห้ามออกเรือ หรือให้น้าเรือไปจอดในบริเวณที่เจ้าท่าก้าหนด ในกรณีที่เป็นเรือต่างประเทศ ให้เจ้าท่าแจ้งเหตุในการออกค้าสั่งดังกล่าวไปยังรัฐที่เรือนั นจดทะเบียนด้วย 

มาตรา ๑๒๐/๒๑ ในกรณีที่เจ้าท่าขึ นไปตรวจสอบบนเรือใดตามมาตรา ๑๒๐/๑๖ หรือ มาตรา ๑๒๐/๑๗ หากพบว่าเรือนั น (๑) ไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล (๒) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๒ วรรคหนึ่ง (๑) (๒) หรือ (๓) (๓) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๓ วรรคหนึ่ง ให้เจ้าท่ามีค้าสั่งห้ามออกเรือ หรือให้น้าเรือไปจอดในบริเวณที่เจ้าท่าก้าหนดและห้ามน้าเรือ ออกจากบริเวณนั น และสั่งให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ก้าหนด เมื่อได้ปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้องตามค้าสั่งแล้วให้เจ้าท่ายกเลิกค้าสั่ง ห้ามออกเรือได้ 

มาตรา ๑๒๐/๒๒ ในกรณีที่มีการออกค้าสั่งห้ามออกเรือตามมาตรา ๑๒๐/๒๐ และ มาตรา ๑๒๐/๒๑ ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือจัดให้มีมาตรการรักษาความปลอดภัย และการดูแลรักษาเรือเพื่อมิให้มีผลกระทบต่อการเดินเรือและสภาพแวดล้อมทางทะเล 

มาตรา ๑๒๐/๒๓ ในระหว่างการด้าเนินคดีอันเกี่ยวกับการกระท้าความผิดในส่วนนี เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรืออาจร้องขอให้เจ้าท่ายกเลิกค้าสั่งห้ามออกเรือตามมาตรา ๑๒๐/๒๐ หรือมาตรา ๑๒๐/๒๑ ได้ หากเจ้าท่าพิจารณาแล้วเห็นว่า เรือดังกล่าวมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับ การจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะอย่างเพียงพอและเหมาะสมในการใช้ หรือมีมาตรการในการป้องกัน การทิ งขยะตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด และได้ด้าเนินการแก้ไขหรือจัดการขยะที่ทิ ง ดังกล่าวแล้ว ให้เจ้าท่าก้าหนดให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ วางหลักประกันเพื่อความรับผิด ในโทษปรับทางอาญาและค่าปรับทางปกครอง และค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมตามจ้านวนที่เจ้าท่าก้าหนด เมื่อวางหลักประกันครบถ้วนแล้ว ให้เจ้าท่ายกเลิกค้าสั่งห้ามออกเรือได้ ทั งนี ไม่เป็นการลบล้างค้าสั่ง ของเจ้าท่าที่สั่งตามมาตรา ๑๓๙ หรือมาตรา ๑๖๐ การก้าหนดหลักประกันตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดี กรมเจ้าท่าก้าหนด โดยให้ค้านึงถึงอัตราค่าปรับขั นสูงสุด ความร้ายแรงของพฤติการณ์แห่งการกระท้าความผิด และค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมด้วย วิธีการวางหลักประกัน การเก็บรักษาหลักประกัน การเปลี่ยนแปลงหลักประกัน การเรียก หลักประกันเพิ่ม การหักหลักประกันเป็นการช้าระแทนค่าปรับและค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม และ การขอรับหลักประกันคืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด ในกรณีที่มีเงินเหลือจากการหักหลักประกันช้าระแทนค่าปรับและค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ให้เจ้าท่าแจ้งโดยไม่ชักช้าแก่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือทราบ เพื่อให้ขอรับหลักประกันที่เหลือคืนภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากเจ้าท่า หากไม่ติดต่อขอรับคืนภายในก้าหนดเวลาดังกล่าว ให้เงินดังกล่าวนั นตกเป็นของแผ่นดิน 

มาตรา ๑๒๐/๒๔ ในกรณีที่เจ้าท่าขึ นไปตรวจสอบบนแท่นใดตามมาตรา ๑๒๐/๑๖ หรือ มาตรา ๑๒๐/๑๗ หากพบว่าแท่นนั น (๑) ไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล (๒) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๒ วรรคหนึ่ง (๔) (๓) ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๓ วรรคสอง ให้เจ้าท่าสั่งให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่นปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง ภายในระยะเวลาที่ก้าหนด 

มาตรา ๑๒๐/๒๕ เจ้าท่าอาจขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ายปกครองหรือต้ารวจ ศูนย์อ้านวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการขึ นไปตรวจสอบเรือ หรือแท่นตามบทบัญญัติในส่วนนี ก็ได้ ให้กรมเจ้าท่าด้าเนินการเพื่อให้มีการบูรณาการในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจสอบ หรือเตรียมการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ใด ที่อาจเป็นการละเมิดหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติในส่วนนี 

มาตรา ๑๒๐/๒๖ การด้าเนินคดีเกี่ยวกับการกระท้าความผิดในส่วนนี ที่เกิดจากเรือหรือแท่น ให้ศาลที่มีเขตอ้านาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาช้าระคดีนั น 

มาตรา ๑๒๐/๒๗ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๗ ในทะเลในน่านน ้าไทย อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง ต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ 

มาตรา ๑๒๐/๒๘ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๗ ในเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ ตามประกาศเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะของราชอาณาจักรไทย ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสี่ล้านบาท  

มาตรา ๑๒๐ /๒๙ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๘ ในพื นที่พิเศษ ต้องระวางโทษ จ้าคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ 

มาตรา ๑๒๐/๓๐ ถ้าการกระท้าความผิดตามมาตรา ๑๒๐/๗ หรือมาตรา ๑๒๐/๘ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ผู้กระท้าความผิดต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกิน สี่แสนบาท ถ้าการกระท้าความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระท้าความผิด ต้องระวางโทษจ้าคุกตั งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับไม่เกินห้าแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๑ ผู้กระท้าความผิดตามมาตรา ๑๒๐/๗ หรือมาตรา ๑๒๐/๘ และ เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น หรือผู้ครอบครองแท่น แล้วแต่กรณี ต้องร่วมกันด้าเนินการแก้ไข หรือจัดการขยะที่ทิ ง หรือร่วมกันชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนด ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานของรัฐต้องเสียไปในการขจัดขยะหรือ มลพิษ ค่าชดเชยความเสียหายของสิ่งแวดล้อม ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้กลับคืนสู่ สภาพเดิม และค่าเสียหายอื่นที่เกี่ยวเนื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการค้านวณค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศก้าหนด ในกรณีที่มีการวางหลักประกันตามมาตรา ๑๒๐/๒๓ ให้หักหลักประกันเป็นการชดใช้ ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมได้ ในกรณีที่ผู้ต้องรับผิดไม่ชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่ก้าหนด ให้น้า มาตรการบังคับทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๑๒๐/๓๒ การทิ งขยะที่ผู้กระท้าไม่มีความผิดตามมาตรา ๑๒๐/๙ หากก่อให้เกิด มลพิษหรือความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานของรัฐต้องด้าเนินการขจัดขยะหรือมลพิษและ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสียไปให้กลับคืนสู่สภาพเดิม ผู้นั นต้องชดใช้ค่าเสียหายของสิ่งแวดล้อม โดยให้น้า ความในมาตรา ๑๒๐/๓๑ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคห้า มาใช้บังคับ 

มาตรา ๑๒๐/๓๓ เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่จัดให้เรือมีอุปกรณ์หรือ เครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะ หรือเรือมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหล ของขยะได้ตามมาตรา ๑๒๐/๑๑ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท หากเรือมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือ ไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบ ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๔ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่จัดให้แท่นมีอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะ หรือแท่นมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกัน การรั่วไหลของขยะได้ตามมาตรา ๑๒๐/๑๑ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินแปดแสนบาท หากแท่นมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือ ไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิดการรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบ ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๕ เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือของเรือล้าใด ฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๒ ในเรื่องดังต่อไปนี (๑) ไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท (๒) มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๖ เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่นของแท่นใด ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๒ ในเรื่องดังต่อไปนี (๑) ไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะ ต้องระวางโทษปรับ ทางปกครองไม่เกินสี่แสนบาท (๒) มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึกการจัดการขยะที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๗ เจ้าของเรือหรือผู้ครอบครองเรือไม่ด้าเนินการให้นายเรือ ลูกเรือ หรือ คนประจ้าเรือมีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ตามมาตรา ๑๒๐/๑๓ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๘ เจ้าของแท่นหรือผู้ครอบครองแท่นไม่ด้าเนินการให้ผู้จัดการแท่นหรือ ผู้ปฏิบัติหน้าที่บนแท่นมีทักษะและความคุ้นเคยในการจัดการขยะ ตามมาตรา ๑๒๐/๑๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินสองแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๓๙ นายเรือหรือผู้จัดการแท่นผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๔ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินห้าหมื่นบาท ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๔ เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ เจ้าของแท่น หรือผู้ครอบครองแท่น ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๔๐ นายเรือหรือผู้จัดการแท่นผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๐/๑๕ ต้องระวางโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท 

มาตรา ๑๒๐/๔๑ ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๑ วรรคหนึ่ง (๑) ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (๑) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือเรือมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ (๒) วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ส้าหรับกรณีมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอหรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือเรือมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิด การรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล 

มาตรา ๑๒๐/๔๒ ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๑ วรรคหนึ่ง (๒) ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนจนกว่า จะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (๑) วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น (๒) วันละไม่เกินห้าหมื่นบาท ส้าหรับกรณีมีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะในปูมเรือหรือเอกสารอื่น ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง 

มาตรา ๑๒๐/๔๓ ในกรณีที่เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ไม่ปฏิบัติหรือแก้ไข ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๑ วรรคหนึ่ง (๓) ให้เจ้าของเรือ ผู้ครอบครองเรือ หรือนายเรือ ต้องโทษปรับรายวัน วันละไม่เกินห้าหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง 

มาตรา ๑๒๐/๔๔ ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติหรือ แก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๔ วรรคหนึ่ง (๑) ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (๑) วันละไม่เกินสี่แสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ ไม่มีที่กักเก็บขยะ หรือแท่นมีสภาพที่ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหลของขยะได้ (๒) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีมีอุปกรณ์หรือเครื่องใช้เกี่ยวกับการจัดการขยะ หรือมีที่กักเก็บขยะไม่เพียงพอ หรือไม่อยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการใช้ หรือแท่นมีสภาพเสี่ยงที่จะเกิด การรั่วไหลของขยะอันอาจส่งผลกระทบต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล 

มาตรา ๑๒๐/๔๕ ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติหรือ แก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๔ วรรคหนึ่ง (๒) ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวันในอัตราดังต่อไปนี ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน จนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (๑) วันละไม่เกินสองแสนบาท ส้าหรับกรณีไม่มีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะ (๒) วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ส้าหรับกรณีมีป้ายประกาศ แผนจัดการขยะ หรือบันทึก การจัดการขยะที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง 

มาตรา ๑๒๐/๔๖ ในกรณีที่เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ไม่ปฏิบัติ หรือแก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เจ้าท่าก้าหนดตามมาตรา ๑๒๐/๒๔ วรรคหนึ่ง (๓) ให้เจ้าของแท่น ผู้ครอบครองแท่น หรือผู้จัดการแท่น ต้องโทษปรับรายวัน วันละไม่เกินหนึ่งแสนบาท ตลอดเวลาที่ยัง ฝ่าฝืนจนกว่าจะปฏิบัติหรือแก้ไขให้ถูกต้อง 

มาตรา ๑๒๐/๔๗ ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางไม่ให้เจ้าท่าขึ นไปตรวจสอบเรือหรือแท่นในทะเล หรือปิดบังหรือซ่อนเร้นเอกสารหรือหลักฐานต่อเจ้าท่า ไม่ให้เอกสารหรือหลักฐานตามที่เจ้าท่าร้องขอ หรือแสดงเอกสารหรือหลักฐานหรือแจ้งข้อความอันเป็นเท็จต่อเจ้าท่า ต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ ถ้าการต่อสู้หรือขัดขวางตามวรรคหนึ่งได้กระท้าโดยใช้ก้าลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้ก้าลัง ประทุษร้าย ผู้กระท้าต้องระวางโทษจ้าคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั งจ้าทั งปรับ ถ้าการกระท้าตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้กระท้าโดยมีหรือใช้อาวุธ ผู้กระท้าต้องระวางโทษ หนักกว่าโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้ในสองวรรคก่อนกึ่งหนึ่ง 

มาตรา ๑๒๐/๔๘ ให้เจ้าท่ามีอ้านาจเปรียบเทียบความผิดที่มีโทษปรับทางปกครองตามส่วนนี หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่อธิบดีกรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด โดยค้านึงถึงความร้ายแรงของพฤติการณ์แห่งการกระท้าความผิดด้วย 

มาตรา ๑๒๐/๔๙ ในกรณีที่ผู้ถูกปรับทางปกครองตามส่วนนี ไม่ช้าระค่าปรับทางปกครอง ให้เจ้าท่ามีอ้านาจฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอ้านาจในการพิจารณาคดีอาญาเพื่อบังคับช้าระค่าปรับทางปกครอง ในการนี ถ้าศาลพิพากษาให้ช้าระค่าปรับทางปกครอง หากผู้นั นไม่ช้าระค่าปรับทางปกครองภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ศาลมีค้าพิพากษา ให้ยึดทรัพย์สินของผู้นั นเพื่อชดใช้แทนค่าปรับทางปกครอง แต่มิให้น้ามาตรการกักขังแทนค่าปรับมาใช้แก่ผู้นั น ในกรณีที่มีการวางหลักประกันตามมาตรา ๑๒๐/๒๓ ให้หักหลักประกันเป็นการช้าระค่าปรับ 

มาตรา ๑๒๐/๕๐ เมื่อเจ้าท่าได้กระท้าการเปรียบเทียบความผิดตามส่วนนี และผู้กระท้า ความผิดได้ช้าระค่าปรับตามที่เจ้าท่าเปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปรียบเทียบแล้ว ให้คดีนั นเป็นอันเลิกกัน ในกรณีที่ผู้กระท้าความผิดยินยอมให้เปรียบเทียบแต่ไม่ช้าระเงินค่าปรับภายในระยะเวลา ที่ก้าหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ด้าเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป ในกรณีเช่นว่านี ให้อายุความเริ่มนับเมื่อพ้น ก้าหนดระยะเวลาดังกล่าว ” 

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ 

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี 

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี คือ โดยที่ประเทศไทยมีนโยบายที่จะเข้าเป็น ภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ. ๑๙๗๓ ภาคผนวก ๕ ว่าด้วย กฎข้อบังคับส้าหรับการป้องกันมลพิษจากขยะบนเรือ (MARPOL Annex V Regulations for the Prevention of Pollution by Garbage from Ships) เพื่อร่วมมือกับนานาประเทศในการควบคุมมิให้มี การทิ งขยะจากเรือหรือแท่นที่เป็นสิ่งก่อสร้างในทะเลทั งที่ติดตรึงอยู่กับที่หรือที่ลอยน ้าได้ ให้เป็นไป ตามข้อก้าหนดและมาตรฐานที่อนุสัญญาก้าหนด และสอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาช าติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒ (United Nations Convention on the Law of the Sea 1982) เกี่ยวกับการป้องกัน การลดและการควบคุมภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยรัฐภาคีต้องด้าเนินการควบคุมมิให้เรือหรือ แท่นที่อยู่ในทะเลอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจ้าเพาะ รวมทั งเรือของรัฐภาคีที่เดินอยู่ในทะเลทั่วโลก ละเมิด ข้อก้าหนดของอนุสัญญา และต้องจัดให้มีมาตรการเพื่อรองรับการด้าเนินการดังกล่าว ซึ่งกฎหมายไทย ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน ้าไทย โดยเพิ่มบทบัญญัติว่าด้วยการทิ งขยะในทะเล ก้าหนดมาตรการในการควบคุมการทิ งขยะจากเรือและแท่น ให้เป็นไปตามหลักมาตรฐานสากลและให้เป็นไปตามพันธกรณีแห่งอนุสัญญา อันเป็นการป้องกันมิให้เกิดมลพิษ และคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล จึงจ้าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี