ตัวบทนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแปลภาษา/การศึกษา และไม่ถือว่ามีผลทางกฎหมาย ทั้งนี้ ให้ยึดถือบทบัญญัติต้นฉบับภาษาไทยเท่านั้น ซึ่งได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการและมีผลทางกฎหมาย ตามไฟล์ PDF ที่แนบ
DISCLAIMER: This text has been provided for translation/educational purposes and contains no legal authority. The original text in Thai language shall be accounted as formally adopted and published in attached PDF file; hence, the sole authority with legal force.
ข้อบังคับ
เริ่มใช้บังคับ : 1 ม.ค. 2513

(SSB) ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจเรือและผู้ให้บริการ ตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ทำการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน้ำมัน พ.ศ. 2566

Marine Department Regulation on Survey and Certificate for Enhanced Programme of Inspections during Surveys of Bulk Carriers and Oil Tankers B.E. 2566


โดยที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization : IMO) ได้ก้าหนดไว้ในอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๗๔ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974 (SOLAS ), as amended) บทที่ XI - 1 Special Measures to Enhance Maritime Safety ให้ใช้ประมวล ข้อบังคับระหว่างประเทศว่าด้วยโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและ เรือบ ร รทุกน ้ ามัน ( International Code on the Enhanced Programme of Inspections during Surveys of Bulk Carriers and Oil Tankers, 2011 as amended : ESP Code) กับเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน ดังนั น เพื่อให้การปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศ และการบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด จึงมีความจ้าเป็นต้องก้าหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจเรือและผู้ให้บริการตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจ เรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันเพื่อปฏิบัติตามอนุสัญญาและประมวลข้อบังคับดังกล่าว 

อาศัยอ้านาจตามความในมาตรา ๑๖๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ และมาตรา ๑๖๓ (3) และ (5) แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน ้าไทย (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๖๐ เจ้าท่า โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมออกข้อบังคับกรมเจ้าท่าไว้ ดังต่อไปนี 

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี เรียกว่า “ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจเรือและผู้ให้บริการตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้า เทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน พ.ศ. 2566” 

ข้อ ๒ ข้อบังคับนี ให้ใช้บังคับนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 

ข้อ ๓ บรรดากฎข้อบังคับ ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศในส่วนที่บัญญัติไว้แล้วซึ่งขัด หรือแย้งกับข้อบังคับนี ให้ใช้ข้อบังคับนี แทน 

ข้อ ๔ ข้อบังคับนี ให้ใช้บังคับกับเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันที่มีขนาดตั งแต่ ๕๐๐ ตันกรอสขึ นไปและมีลักษณะ ดังนี (๑) เรือบรรทุกสินค้าเทกองที่มีเปลือกเรือชั นเดียว (Bulk Carriers Having Single -Side Skin Construction ) (๒) เรือบรรทุกสินค้าเทกองที่มีเปลือกเรือสองชั น (Bulk Carriers Having Double -Side Skin Construction ) (๓) เรือบรรทุกน ้ามันที่มีตัวเรือสองชั น ( Double -Hull Oil Tankers ) (๔) เรือบรรทุกน ้ามันนอกเหนือจาก (๓) 

ข้อ 5 ในข้อบังคับนี 

“เรือบรรทุกสินค้าเทกอง” หมายถึง เรือที่ต่อขึ นในลักษณะที่มีดาดฟ้าชั นเดียว โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อบรรทุกสินค้าเทกอง ตามค้านิยามที่ระบุใน Regulation 1.6 Chapter IX ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๗๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (International Convention for the Safety of Life at Sea 1974 as amended) 

“เรือบรรทุกน ้ามัน” หมายถึง เรือซึ่งต่อหรือดัดแปลงเพื่อวัตถุประสงค์ในการบรรทุกน ้ามัน ในระวางเป็นปริมาตรรวม และรวมถึงเรือบรรทุกสินค้ารวมและเรือบรรทุกสารเหลวมีพิษใด ๆ ตามค้านิยามในหมวด ข ของกฎข้อบังคับส้าหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงเรือบรรทุกแก๊สเหลวใด ๆ ตามค้านิยามที่ระบุใน Regulation 3.20 Chapter II - 1 ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๗๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติม (International Convention for the Safety of Life at Sea 1974 as amended) เมื่อเรือนั นบรรทุกสินค้าประเภทน ้ามันทั งหมดหรือบางส่วนเป็นปริมาตรรวม 

“ผู้ให้บริการ” (Service provider) หมายถึง ผู้ให้บริการที่ได้รับการรับรองและขึ นทะเบียน กับกรมเจ้าท่าเพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและ เรือบรรทุกน ้ามัน 

“ประมวลข้อบังคับ” หมายถึง ประมวลข้อบังคับระหว่างประเทศว่าด้วยโปรแกรมเสริม ระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน (International Code on the Enhanced Programme of Inspections during Surveys of Bulk Carriers and Oil Tankers, 2011 as amended : ESP Code) ที่รับรองโดยมติที่ประชุมสมัชชาขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ที่ 1049(27) และที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม โดยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ โดยมีเงื่อนไขว่า การแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวถูกรับรองและมีผลใช้บังคับตามบทบัญญัติของข้อ ๘ ว่าด้วยเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติม ของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ. ๑๙๗๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในเรื่องที่เกี่ยวกับขั นตอนแก้ไขเพิ่มเติมที่ใช้บังคับกับภาคผนวกนอกเหนือจากบทที่ I รวมถึงที่อาจมี การแก้ไขปรับปรุงในอนาคต 

ข้อ 6 เรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันจะต้องเข้ารับการตรวจตามโปรแกรมเสริม ซึ่งระบุไว้ในประมวลข้อบังคับตามภาคผนวก 1 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี กับผู้ให้บริการ หรือผู้ให้บริการ ที่ได้รับการรับรองจากรัฐต่างประเทศและได้รับการรับรองจากสถาบันการตรวจเรือด้วย เมื่อท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันตามโปรแกรมเสริมแล้ว ให้ผู้ให้บริการจัดท้ารายงานการประเมินสภาพเรือตามแนวทางที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศก้าหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยหัวข้อ ดังนี (๑) การวัดความหนาแผ่นเหล็กตัวเรือ (๒) การตรวจสอบสภาพโครงสร้างหลักของเรือ (๓) การตรวจสภาพและทดสอบถังสินค้า (๔) การตรวจสภาพและทดสอบถังอับเฉาเรือ (๕) การตรวจสภาพและทดสอบฝาระวาง (๖) การตรวจสภาพและทดสอบถังน ้ามันเชื อเพลิง บริเวณ ถังด้านข้างและถังใต้ท้องเรือ 

ข้อ ๗ เมื่อจัดท้ารายงานการประเมินสภาพเรือแล้ว ให้ผู้ให้บริการยื่นรายงานดังกล่าว ต่อกรมเจ้าท่าหรือสถาบันการตรวจเรือ เพื่อรับรองว่าเรือบรรทุกสินค้าเทกองหรือเรือบรรทุกน ้ามันนั น ได้ปฏิบัติตามข้อบังคับนี แล้ว 

ข้อ ๘ กรมเจ้าท่าหรือสถาบันการตรวจเรือต้องตรวจสอบรายงานการประเมินสภาพเรือ ก่อนรับรองว่าเรือบรรทุกสินค้าเทกองหรือเรือบรรทุกน ้ามันนั นได้ปฏิบัติตามข้อบังคับนี แล้ว 

ข้อ 9 ผู้ให้บริการที่มีความประสงค์จะขอใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการเพื่อท้าการตรวจเรือ ตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันต้องมีคุณสมบัติ ดังนี ( 1 ) มีส้านักงานประจ้าและจดทะเบียนอยู่ในประเทศไทย ( 2 ) มีเจ้าหน้าที่ตรวจเรืออย่างน้อยหนึ่งคน ซึ่งมีคุณสมบัติ ดังนี (ก) สัญชาติไทย (ข) จบการศึกษาไม่ต่้ากว่าระดับปริญญาตรี สาขาเดินเรือ ช่างกลเรือ เครื่องกล อุตสาหการ นาวาสถาปัตยกรรม หรือเทียบเท่า (ค) ได้รับใบประกาศนียบัตรผู้ตรวจสอบความหนาแผ่นเหล็กระดับ ๒ จากสมาคม การเชื่อมโลหะและการตรวจสอบแห่งประเทศไทย (Thai Welding & Inspection Association) หรือจากหน่วยงานอื่นที่เทียบเท่าหรือสูงกว่า และมีความสามารถในการใช้เครื่องมือตรวจสอบมาตรฐาน ความหนาแผ่นเหล็กของตัวเรือและโครงสร้างเรือ โดยเป็นไปตามการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริม ระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน และ (ง) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ในเรือเดินทะเลระหว่างประเทศในต้าแหน่ง ไม่ต่้ากว่านายประจ้าเรือฝ่ายช่างกลเรือหรือนายประจ้าเรือฝ่ายเดินเรือมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ (จ) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานกับอู่เรือหรือบริษัทเรือ โดยมีหน้าที่ก้ากับดูแล การซ่อมและบ้ารุงรักษาเรือเดินทะเลระหว่างประเทศมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ ( ฉ ) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจเรือหรือตรวจแบบแปลนเรือให้กับสถาบัน การตรวจเรือมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือ (ช) มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานตาม (ค) (ง) หรือ (จ) รวมกันไม่น้อยกว่า 5 ปี และ (๓) มีรูปแบบการบันทึกและรายงานผลการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน ตามที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศก้าหนด (๔) มีเอกสารคู่มือของผู้ให้บริการซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับขั นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน การรายงานผล รวมถึงรายชื่อเจ้าหน้าที่ที่ท้าหน้าที่ตรวจเรือ โดยเอกสารดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบ จากกรมเจ้าท่า 

ข้อ 10 ให้ผู้ให้บริการหรือตัวแทนผู้ให้บริการที่ประสงค์จะขอใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการ เพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน ยื่นค้าร้องตามแบบ ก.5 ต่อกรมเจ้าท่า พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐานที่แสดงถึงคุณสมบัติตามข้อ ๙ 

ข้อ 11 ในการพิจารณาออกใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการเพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรม เสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน ให้กรมเจ้าท่าตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าผู้ให้บริการนั นมีคุณสมบัติตามข้อ 9 รวมถึงมีการบริหารและการจัดการที่เหมาะสม โดยผู้ให้บริการดังกล่าวต้องสาธิตการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมบนเรือและรายงานผลให้เจ้าพนักงาน ตรวจเรือที่ได้รับมอบหมายทราบ 

ข้อ ๑ 2 เมื่อผู้ให้บริการผ่านการตรวจสอบแล้ว ให้ส้านักมาตรฐานเรือจัดท้ารายงานผล การตรวจสอบ และความสามารถของผู้ให้บริการส้าหรับท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการ ตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน เพื่อน้าเสนอต่ออธิบดีกรมเจ้าท่า ก่อนประกาศ เป็นผู้ให้บริการที่ได้รับการรับรองจากกรมเจ้าท่าต่อไป 

ข้อ ๑ 3 ใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการเพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการ ตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน มีอายุไม่เกิน ๒ ปี โดยแบบของใบส้าคัญรับรอง ให้เป็นไปตามภาคผนวก 2 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี 

ข้อ 14 ผู้ให้บริการต้องจัดเตรียมความพร้อมส้าหรับให้กรมเจ้าท่าด้าเนินการตรวจประเมิน ส้านักงานประจ้าที่อยู่ในประเทศไทยทุกปี อย่างน้อยปีละ ๑ ครั ง ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัย อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจจัดให้มีการตรวจประเมินมากกว่าปีละ ๑ ครั ง 

ข้อ 15 ในกรณีที่มีเหตุผลและความจ้าเป็น อธิบดีกรมเจ้าท่าอาจก้าหนดให้มีการไปตรวจประเมิน ผู้ให้บริการที่ส้านักงานใหญ่หรือส้านักงานภูมิภาคที่ก้ากับดูแลส้านักงานประจ้าอยู่ในประเทศไทย 

ข้อ ๑6 ผู้ให้บริการต้องส่งส้าเนารายงานการประเมินสภาพเรือที่ได้ออกตามข้อก้าหนด ของอนุสัญญาระหว่างประเทศและพิธีสารที่เกี่ยวข้อง รวมถึงรายงานการตรวจเรือ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการตรวจเรือให้กับกรมเจ้าท่าภายใน 30 วันนับจากวันที่ออกรายงานการประเมินสภาพเรื อ หรือช่องทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นที่กรมเจ้าท่าประกาศก้าหนด 

ข้อ ๑7 กรณีที่ผู้ให้บริการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับนี หรือกระท้าการในลักษณะที่อาจเห็นได้ว่า ไม่เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือกระท้าการใด ๆ อันอาจท้าให้เกิดความเสื่อมเสียต่อกรมเจ้าท่า ให้อธิบดีกรมเจ้าท่ามีอ้านาจ ดังนี (๑) สั่งให้ผู้ให้บริการแก้ไขหรือด้าเนินการใด ๆ เพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ นภายใน ระยะเวลาที่อธิบดีกรมเจ้าท่าก้าหนด ซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 7 วัน (๒) ระงับการเป็นผู้ให้บริการเป็นการชั่วคราว (๓) เพิกถอนการเป็นผู้ให้บริการ 

ข้อ ๑8 อัตราค่าธรรมเนียมการตรวจเรือเพื่อรับรองรายงานการตรวจสภาพเรือตามโปรแกรมเสริม ระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน และค่าธรรมเนียมส้าหรับการออก ใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการเพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการตรวจเรือบรรทุกสินค้า เทกองและเรือบรรทุกน ้ามัน ให้เป็นไปตามภาคผนวก 3 ที่แนบท้ายข้อบังคับนี 

ข้อ ๑9 ใบส้าคัญรับรองผู้ให้บริการเพื่อท้าการตรวจเรือตามโปรแกรมเสริมระหว่างที่ท้าการ ตรวจเรือบรรทุกสินค้าเทกองและเรือบรรทุกน ้ามันที่กรมเจ้าท่าออกให้ก่อนวันที่ข้อบังคับนี ใช้บังคับ ให้ใช้ได้ต่อไปตามก้าหนดเวลาและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในใบส้าคัญรับรองนั น 

ข้อ 20 ให้อธิบดีกรมเจ้าท่าเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี และมีอ้านาจออกประกาศ เพื่อก้าหนดรายละเอียดการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อบังคับนี 

ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. ๒๕ 66 

สรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์ 

รองปลัดกระทรวงคมนาคม รักษาราชการแทน 

อธิบดีกรมเจ้าท่า